ดนตรีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๑ การจัดวงปี่พาทย์เครื่องห้าได้เพิ่มกลองทัดเข้ามาในวงอีก ๑ ใบ ทำให้วงปี่พาทย์มีกลองทัด ๒ ใบ เสียงสูงและเสียงต่ำเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
ยุค ทอง ของ ดนตรี ไทย ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้เกิดวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ทรงปรับปรุงขึ้นเพื่อบรรเลงประกอบละครวงปี่พาทย์นี้มีชื่อเสียงไพเราะนุ่มนวลกว่า ดนตรีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะได้ดัดเครื่องดนตรีที่มีเสียงดังมาก เสียงสูงและเสียงเล็กแหลมออกจนหมด และระนาดเอกก็ตีด้วยไม้นวม รวมทั้งยังนำฆ้องชัยหรือฆ้องหุ่ยมา ๗ลูก เทียบเสียงเรียงลำดับตีห่างๆ คล้ายกับ เบสของฝรั่ง เพิ่มเข้ามา
สมัยรัชกาลที่ ๖ วงดนตรีได้พัฒนารูปแบบขึ้นอีก คือ ดนตรีไทยสมัยอยุธยา มีการนำเครื่องดนตรีของต่างชาติมาผสมเช่นวงเครื่องสายนำเอาขิมของจีนมาผสม และนำออร์แกนของฝรั่งเข้ามาผสมเป็นรูปแบบของวงเครื่องสายผสมนอกจากนี้ยังนำเอาอังกะลุงซึ่งเป็นเครื่องดนตรีของอินโดนีเซียเข้ามาด้วย